การรังแกกันในโรงเรียนนั้นผู้ถูกรังแกจะได้รับผลกระทบทั้งทางร่างกายและจิตใจ ตัวอย่าง การรังแกกันในโรงเรียน เช่น การชกต่อย , การข่มขู่รีดไถ , การรังแกกันด้วยคำพูด-วาจา อย่างการล้อเลียน การประชดประชัน,ใส่ร้ายป้าย
การรังแกกันโรงเรียน หลายๆคนอาจมองข้าม และคิดว่ามันไม่ใช่ปัญหาที่ใหญ่ บ้างก็ว่าเป็นเพียงแค่การที่เด็กหยอกล้อเล่นกัน แต่ทราบหรือไม่ สิ่งเหล่านี้กลับสร้างแผลใน
จับสัญญาณเด็กถูกรับแก
ก่อนจะพูดเรื่องของการช่วยเ
- เด็กซึมเศร้า-หวาดกลัวอย่าง
ไม่ทราบสาเหตุ - เด็กมีความก้าวร้าว
- เด็กไม่อยากมาโรงเรียนหรือไ
ม่ (ในกรณีที่เกิดขึ้นในโรงเรี ยน) อาการเหล่านี้จะเป็นสัญญาณบ ่งชี้ได้ว่าเด็กกำลังมีปัญห า - ไม่ค่อยมีเพื่อน
- ไม่อยากทานอาหาร
- ผลการเรียนตกต่ำ
ทั้งนี้การรังแกกัน ต้องเป็นพฤติกรรมที่เกิดจาก
การช่วยเหลือ/ แนวทางการแก้ไข
เมื่อทราบหรือสงสัยว่าเด็ก อาจถูกเพื่อนรังแกในโรงเรีย
- พูดคุยกับเด็กอย่างเข้าใจ ใช้การตั้งคำถามปลายเปิด เช่น ที่โรงเรียนเป็นอย่างไรบ้าง
จ้ะ, พ่อแม่เป็นห่วงหนูนะ มีอะไรเล่าให้ฟังได้นะจ้ะ - สอบถามจากเพื่อนของเด็ก หากผู้ใหญ่รู้จักกับเพื่อนๆ
ของเด็ก เช่น แม่เป็นห่วงเขามากเลย เธอพอรู้บ้างไหม เขาอยู่โรงเรียนเป็นยังไงบ้ างจ้ะ - พูดคุยกับคุณครู โดยการเล่าความไม่สบายใจ ความเป็นห่วงของเราให้ครูรั
บทราบ เพื่อให้ครูช่วยสอดส่องเด็ก ของเราอีกทาง
สิ่งที่ผู้ใหญ่ควรทำเมื่อรู้ว่าเด็กถูกรังแก
- แสดงความเห็นอกเห็นใจ ไม่ตำหนิหรือวิจารณ์สิ่งที่
เด็กพูด แต่ให้ชื่นชมในความกล้าของเ ด็กที่เขากล้าเล่าให้ผู้ใหญ่ฟัง - ไม่สนับสนุนให้เด็กใช้ความรุนแรงในการตอบโต้ แต่ให้สอนวิธีการหลีกเลี่ยง
จากผู้รังแก เช่น ไม่อยู่ลำพังคนเดียว เดินหนีหากเห็นว่าเขาจะเข้า มา ไม่สนใจ บอกตรง ๆ ว่าไม่ชอบ หากทำอีกจะบอกครู เป็นต้น - หมั่นเติมความมั่นใจให้กับเ
ด็ก เมื่อรู้ว่าเด็กต้องเผชิญปั ญหาต่างๆ เด็กคนนั้นอาจสูญเสียความมั ่นใจ และเป็นเด็กที่ซึมเศร้า ดังนั้นผู้ใหญ่ควรพาเด็กออก ไปหากิจกรรมทำ เช่น เล่นกีฬา ดนตรี เพื่อให้เด็กมีความภาคภูมิใ จในตนเอง
ทั้งครอบครัวและโรงเรียนควร
ข้อมูลจาก: งานพัฒนาเด็กและครอบครัว มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็กและผู้จัดการออนไลน์