Infographic สิทธิเด็กกับความปลอดภัยในโรงเรียน
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 หมวด 7 มาตรา 63 ระบุว่า “โรงเรียนและสถานศึกษา ต้องจัดให้มีระบบงานและกิจกรรมในการแนะแนว
Infographic 10 สิ่งที่ลูกอยากให้พ่อแม่เป็น!!
มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก จัดกิจกรรมกับเด็กและเยาวชนในหลายพื้นที่ ได้รวบรวมความคิดเห็นของเด็กและเยาวชนถึงสิ่งที่ทำให้เด็กๆ มีความสุขในบ้าน และสิ่งที่ทำให้ไม่มีความสุข ซึ่งส่วนใหญ่สะท้อนถึงพฤติกรรมหรือการกระทำของพ่อแม่หรือผู้ใหญ่ในบ้าน ที่ลูกๆ อยากให้เปลี่ยน เพื่อให้บรรยากาศในครอบครัวเปี่ยมด้วยความรัก
Infographic เสริมปัจจัยป้องกันความรุนแรงในเด็ก
เพราะความรุนแรงส่งผลกระทบต่อเด็กในระยะยาว ก่อให้เกิดความเครียด สะสมเป็นปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การเสริมปัจจัยป้องกัน เพื่อให้เด็กมีเสมือนภูมิต้านทานความเครียดและความรุนแรง ควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก ด้วยวิธีการเลี้ยงดูที่ช่วยส่งเสริมให้เกิดความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย ก่อให้เกิดความสุข การพัฒนาที่เหมาะสมตามวัยของเด็ก
Infographic สิทธิในการเกิดและได้สัญชาติของเด็ก
เด็กทุกคนจะต้องได้รับการจดทะเบียนการเกิดและได้รับสัญชาติ ซึ่งเป็นสิทธิตามหลักสิทธิมนุษยชน และสิทธิเด็ก ดังนี้ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน Universal Declaration of Human
Infographic “จัดการอารมณ์พ่อแม่ ลดความรุนแรงต่อลูก”
เด็กทุกคนมีสิทธิได้รับการคุ้มครองจากการกระทำความรุนแรงทุกรูปแบบ ทุกเวลาและทุกสถานที่ พ่อแม่จึงควรจัดการ ควบคุม และแสดงออกอารมณ์ของตนเองอย่างเหมาะสม เพื่อไม่ให้อารมณ์เหล่านั้นกลายเป็นต้นเหตุของการใช้ความรุนแรงต่อเด็กและละเมิดต่อสิทธิเด็ก เพราะเมื่อพ่อแม่รู้สึกเหนื่อย เครียด กังวลใจ
Infographic “เลี้ยงลูกอย่างไรไม่ใช้ความรุนแรง”
“เลี้ยงลูกอย่างไรไม่ใช้ความรุนแรง” ปรับทัศนคติ เปลี่ยนมุมมองทัศนคติใหม่ที่มีต่อเด็ก (จากเดิมที่มองว่าเด็กเป็นสมบัติของพ่อแม่ เป็นที่รองรับอารมณ์ ทำให้เด็กเจ็บ กลัว จะได้เชื่อฟัง เพราะเป็นเหตุที่ใช้ความรุนแรงต่อเด็ก)
Infographic สิทธิของเด็กที่ถูกกระทำด้วยความรุนแรง
เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครองจากผู้ใหญ่ทุกคนในสังคม เพื่อเติบโตขึ้นอย่างอยู่ดี มีสุข และปลอดภัย แต่หากเด็กๆ ถูกกระทำด้วยความรุนแรง พวกเขามีสิทธิต่างๆ ดังนี้ สิทธิได้รับความช่วยเหลือและคุ้มครอง
Infographic รับฟังเสียงของเด็ก
รับฟัง “เสียงของเด็ก” หลักการอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กที่ประเทศไทยร่วมลงนาม ระบุไว้ว่า 'เด็กมีสิทธิในการแสดงออกความคิดเห็น และมีส่วนร่วมในทุกเรื่องที่ส่งผลกระทบถึงชีวิตและอนาคตของพวกเขา' การรับฟัง “เสียงของเด็ก” ไม่ใช่ฟังแค่เสียงที่เปล่งออกมาเป็นคำพูดหรือเสียง แต่เป็นการรับฟังลูก
Infographic ทอดทิ้ง=ความรุนแรง
“ทอดทิ้งเด็ก” = “ความรุนแรง” การกระทำความรุนแรงต่อเด็ก ไม่ใช่มีเพียงแค่ การทำร้ายร่างกาย ทำร้ายจิตใจ การล่วงละเมิดทางเพศ เท่านั้น