Info graphic สร้างภูมิคิด(ส์) พิชิตภัย(คน)
ในช่วงสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 เด็กๆคงอยู่บ้านกันเป็นส่วนใหญ่ ในขณะที่ละแวกบ้านอาจมีคนที่เด็กคุ้นเคย หรือไม่คุ้นเคย มาอยู่ละแวกบ้าน พ่อแม่ผู้ปกครองอย่าได้ละเลยเรื่องความปลอดภัยของเด็กๆนะคะ เราจะดูแลให้เด็กๆปลอดจากโรคไวรัสโควิด-19 ไปพร้อมๆกับปลอดภัยจากบุคคลอันตราย มาดูกันว่าเราจะดูแลเด็กๆให้ปลอดภัยจากบุคคลอันตรายกันได้อย่างไร
Info graphic ปกป้องเด็กจากความรุนแรงในช่วงโควิด-19ระบาด
ปกป้องเด็กจากความรุนแรง ในช่วงโควิด19 ระบาด 1.พ่อแม่ต้องสตรอง! พ่อแม่ต้องดูแลตัวเองให้แข็งแรงทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต เพื่อฟันฝ่าวิกฤติในครั้งนี้ รวมทั้งมีทักษะที่ดีในการจัดการปัญหา การจัดการอารมณ์ การดูแลเด็กๆในชีวิตประจำวัน
ชวนเด็กๆรู้จัก “โคโรน่าไวรัส”
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 ในประเทศไทย มีจำนวนผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การดูแลป้องกันตนเองตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุข และแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เป็นอีกวิธีการลดการแพร่ระบาด พ่อแม่ผู้ปกครองต้องคอยระมัดระวังบุตรหลานของตนเองอย่างใกล้ชิด WWW.MINDHEART.CO ได้จัดทำการ์ตูนเสริมความรู้ให้กับเด็กเกี่ยวกับโคโรน่าไวรัส
Info graphic ปกป้องลูกจากภัยทางเพศ
ช่วงนี้ผู้ปกครองต้องทำงานจากบ้าน เด็กๆปิดเทอม ไม่ได้ออกไปทำกิจกรรมนอกบ้าน เพราะมีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด 19 พ่อแม่ควรถือโอกาสช่วงนี้เติมเต็มทักษะที่จำเป็นต่างๆให้กับเด็ก
Info graphic ปกป้องเด็กให้ปลอดภัยจากความรุนแรง
การปกป้องคุ้มครองเด็ก ให้ปลอดภัยจากความรุนแรงทุกรูปแบบ เป็นหน้าที่ของพวกเรา (ผู้ใหญ่) ทุกคนในสังคม เพื่อให้เด็กเติบโตขึ้นอย่างอยู่ดี มีสุขและปลอดภัย เริ่มต้นจากคนในครอบครัว จนถึงคนในสังคม
Info graphic เปลี่ยนความคิดความเชื่อผิดๆเพื่อหยุดความรุนแรงต่อเด็ก
ความรุนแรงที่เกิดขึ้นกับเด็ก มักมาจาก ความคิด ความเชื่อที่ผิดๆของผู้ใหญ่ที่ดูแลเด็ก ส่งผลให้เกิดการปฏิบัติต่อเด็กด้วยความรุนแรงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการปล่อยปละละเลยเด็ก ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา
Info Graphicความรุนแรงต่อเด็กหยุดได้
หลายครั้งที่ความรุนแรงกับเด็กเกิดขึ้นวนเป็นวัฎจักร จากรุ่นสู่รุ่น ส่งต่อกันเพราะแบบอย่างที่เห็น และจากประสบการณ์ที่เคยถูกกระทำมาก่อน ความรุนแรงที่เกิดขึ้นมาจากหลายปัจจัย หากเรารู้เท่าทันและสามารถปรับเปลี่ยนแก้ไข ความรุนแรงก็จะหมดไป ความรุนแรงต่อเด็ก หยุดได้
ความรุนแรงต่อเด็กสร้างบาดแผลทางใจ
ผลกระทบของความรุนแรงต่อเด็ก อาจจะไม่ใช่บาดแลทางกาย แต่บาดแผลทางใจจะได้รับผลกระทบไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน พญ.เบญจพร ตันตสูติ จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น ‘เพจเข็นเด็กขึ้นภูเขา’ แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นความรุนแรงที่เกิดขึ้นเด็ก โดยเฉพาะความรุนแรงในครอบครัว ว่า “ความรุนแรงในครอบครัวที่ส่งผลกระทบค่อนข้างรุนแรงกับเด็ก
Info Graphic สื่อสารดี บ้านนี้ไม่มีความรุนแรง
ครอบครัวของคุณมีการสื่อสารกันมากแค่ไหน??? พูดคุยกันเพียงแค่คำถามประจำวัน เช่น กินข้าวหรือยัง วันนี้มีการบ้านหรือไม่ หรือไปทำอะไรมา หรือว่ามีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ความคิดเห็น ความต้องการ ความคาดหวัง หรือความรู้สึกระหว่างกัน...