Infographic สิทธิเด็กกับความปลอดภัยในโรงเรียน
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 หมวด 7 มาตรา
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 หมวด 7 มาตรา
มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก จัดกิจกรรมกับเด็กและเยาวชนในหลายพื้นที่ ได้รวบรวมความคิดเห็นของเด็กและเยาวชนถึงสิ่งที่ทำให้เด็กๆ มีความสุขในบ้าน และสิ่งที่ทำให้ไม่มีความสุข ซึ่งส่วนใหญ่สะท้อนถึงพฤติกรรมหรือการกระทำของพ่อแม่หรือผู้ใหญ่ในบ้าน
เพราะความรุนแรงส่งผลกระทบต่อเด็กในระยะยาว ก่อให้เกิดความเครียด สะสมเป็นปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การเสริมปัจจัยป้องกัน เพื่อให้เด็กมีเสมือนภูมิต้านทานความเครียดและความรุนแรง ควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก
เด็กทุกคนจะต้องได้รับการจดทะเบียนการเกิดและได้รับสัญชาติ ซึ่งเป็นสิทธิตามหลักสิทธิมนุษยชน และสิทธิเด็ก ดังนี้ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน Universal
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพพ่อแม่ผู้ปกครองในการดูแลเด็ก ฟังจากชื่อโครงการคุณเข้าใจว่ารูปแบบกิจกรรมเป็นแบบไหน? ให้ความรู้ ฝึกทักษะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ทดลองนำกลับไปใช้..
ชวนดูหนังสั้นยุติความรุนแรงต่อเด็ก 4 เรื่อง ที่จะทำให้ผู้ใหญ่เข้าใจ รับรู้ และช่วยเหลือเมื่อเด็กถูกกระทำความรุนแรง
"ดีจังเลยเนาะ..ได้ความรู้มากๆเลย บางทีเราก็เหนื่อยนะเลี้ยงลูก..มีอีกเรื่อยๆก็ดีนะ “วันนี้ได้ความรู้หลายๆ อย่าง เช่น ดูแลลูกตามวัย
10 พฤษภาคม 2567 มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตำบลนาข่า
มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก ร่วมกับ ศูนย์ประสานงานเครือข่ายโรงเรียนคุ้มครองเด็ก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดกิจกรรม “ห้องเรียนครูคุ้มครองเด็ก”
เด็กทุกคนมีสิทธิได้รับการคุ้มครองจากการกระทำความรุนแรงทุกรูปแบบ ทุกเวลาและทุกสถานที่ พ่อแม่จึงควรจัดการ ควบคุม และแสดงออกอารมณ์ของตนเองอย่างเหมาะสม เพื่อไม่ให้อารมณ์เหล่านั้นกลายเป็นต้นเหตุของการใช้ความรุนแรงต่อเด็กและละเมิดต่อสิทธิเด็ก
“เลี้ยงลูกอย่างไรไม่ใช้ความรุนแรง” ปรับทัศนคติ เปลี่ยนมุมมองทัศนคติใหม่ที่มีต่อเด็ก (จากเดิมที่มองว่าเด็กเป็นสมบัติของพ่อแม่ เป็นที่รองรับอารมณ์ ทำให้เด็กเจ็บ
“ได้ความรู้พัฒนาตัวเองแล้วก็ได้ดูแลหลานดีขึ้น แล้วก็หลานก็ดีขึ้น ชอบกิจกรรม ระบายสีตุ๊กตา วงกลม แมนดาลา