Infographic เข้าใจลูก ลดความรุนแรงในบ้าน
“เข้าใจลูก” ลดความรุนแรงในบ้าน หลายครั้งความรุนแรงที่เกิดขึ้นในบ้าน มักเกิดจากความไม่เข้าใจกันระหว่างพ่อแม่ลูก ความเข้าใจที่พ่อแม่ควรรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลลูกหนึ่งคน มีหลายมิติ
“เข้าใจลูก” ลดความรุนแรงในบ้าน หลายครั้งความรุนแรงที่เกิดขึ้นในบ้าน มักเกิดจากความไม่เข้าใจกันระหว่างพ่อแม่ลูก ความเข้าใจที่พ่อแม่ควรรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลลูกหนึ่งคน มีหลายมิติ
ของขวัญวันเด็ก 2568 ที่มีความหมายสำคัญสำหรับเด็กในประเทศไทย มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก
มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก จัดกิจกรรมกับเด็กและเยาวชนในหลายพื้นที่ ได้รวบรวมความคิดเห็นของเด็กและเยาวชนถึงสิ่งที่ทำให้เด็กๆ มีความสุขในบ้าน และสิ่งที่ทำให้ไม่มีความสุข ซึ่งส่วนใหญ่สะท้อนถึงพฤติกรรมหรือการกระทำของพ่อแม่หรือผู้ใหญ่ในบ้าน
เพราะความรุนแรงส่งผลกระทบต่อเด็กในระยะยาว ก่อให้เกิดความเครียด สะสมเป็นปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การเสริมปัจจัยป้องกัน เพื่อให้เด็กมีเสมือนภูมิต้านทานความเครียดและความรุนแรง ควรเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก
เด็กทุกคนมีสิทธิได้รับการคุ้มครองจากการกระทำความรุนแรงทุกรูปแบบ ทุกเวลาและทุกสถานที่ พ่อแม่จึงควรจัดการ ควบคุม และแสดงออกอารมณ์ของตนเองอย่างเหมาะสม เพื่อไม่ให้อารมณ์เหล่านั้นกลายเป็นต้นเหตุของการใช้ความรุนแรงต่อเด็กและละเมิดต่อสิทธิเด็ก
“เลี้ยงลูกอย่างไรไม่ใช้ความรุนแรง” ปรับทัศนคติ เปลี่ยนมุมมองทัศนคติใหม่ที่มีต่อเด็ก (จากเดิมที่มองว่าเด็กเป็นสมบัติของพ่อแม่ เป็นที่รองรับอารมณ์ ทำให้เด็กเจ็บ
“ทอดทิ้งเด็ก” = “ความรุนแรง” การกระทำความรุนแรงต่อเด็ก ไม่ใช่มีเพียงแค่ การทำร้ายร่างกาย
หัวใจสำคัญของการดูแลเด็กโดยไม่ใช้ความรุนแรงพ่อแม่หรือผู้ปกครอง จะต้องมี 3 เรื่องหลัก คือ 1.
การลงโทษทางร่างกาย ครอบคลุมถึงการลงโทษทางร่างกายทุกประเภท รวมทั้งการตบ ตี หยิก ดึง
ลูกไม่ใช่สมบัติของพ่อแม่!! เพราะความคิดความเชื่อที่ว่า “ลูกเป็นสมบัติของพ่อแม่” ทำให้พ่อแม่ผู้ปกครองบางคน มีวิธีการเลี้ยงดูลูกที่ส่งผลกระทบต่อทางร่างกายและจิตใจของเด็ก เช่น
การทำร้ายจิตใจเด็ก (Emotional Abuse) ถือเป็นการทารุณกรรมเด็กอีกรูปแบบหนึ่ง ที่เกิดจากผู้ปกครองหรือผู้ที่ดูแลเด็กปฏิเสธ เฉยเมยไม่สนใจ
ปัญหาความก้าวร้าวรุนแรงที่เกิดขึ้นในครอบครัวหรือชุมชน เกิดจากปัจจัยหลัก 3 ประการ ได้แก่ ๑)