ความรุนแรงต่อเด็กสร้างบาดแผลทางใจ
ผลกระทบของความรุนแรงต่อเด็ก อาจจะไม่ใช่บาดแลทางกาย แต่บาดแผลทางใจจะได้รับผลกระทบไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน พญ.เบญจพร ตันตสูติ จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น ‘เพจเข็นเด็กขึ้นภูเขา’
ผลกระทบของความรุนแรงต่อเด็ก อาจจะไม่ใช่บาดแลทางกาย แต่บาดแผลทางใจจะได้รับผลกระทบไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน พญ.เบญจพร ตันตสูติ จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น ‘เพจเข็นเด็กขึ้นภูเขา’
พ่อแม่ผู้ปกครองจะป้องกันลูกของตนเองไม่ให้ถูกรังแก และลูกไม่ไปรังแกผู้อื่นได้อย่างไรบ้าง ติดตามรายละเอียดได้ในอินโฟกราฟิก เพื่อร่วมกันหยุดความรุนแรงต่อเด็กทุกรูปแบบ
คุณครูคืออีกหนึ่งคนสำคัญที่จะช่วยยุติเรื่องการรังแกกันของเด็ก ซึ่งสิ่งที่คุณครูสามารถทำได้คือ 1) สิ่งที่ครูทำได้ทันทีก็คือ การรับฟังและแสดงความเห็นใจ โดยครูต้องเอาใจเด็กมาใส่ใจครู
ปัญหาการรังแกกันของเด็กๆ ผู้ใหญ่อาจคิดว่าเป็นเรื่องเล็กๆแค่เล่น หรือหยอกกัน แต่สำหรับเด็กถือเป็นเรื่องใหญ่ที่พวกเขาต้องการความช่วยเหลือจากผู้ใหญ่ให้ช่วยจัดการปัญหาอย่างทันท่วงทีและยุติปัญหาอย่างถาวร สำหรับพ่อแม่ที่รู้ว่าลูกของตนถูกเพื่อนรังแก จะทำอย่างไรที่จะช่วยลูกของตนได้