Infographicโรงเรียนกับการสร้างความปลอดภัยให้เด็ก#2

2021-11-09T22:07:57+07:009 พฤษภาคม 2018|มัลติมีเดีย, คู่มือ|

ในอินโฟกราฟิกชุดแรก เรื่องโรงเรียนกับการสร้างความปลอดภัยให้เด็ก สิ่งที่โรงเรียนควรมีคือการมีมาตการหรือแนวทางในการดูแลความปลอดภัยที่ป้องกันอันตรายจากบุคคลทั้งจากภายในและภายนอกโรงเรียน และป้องกันอันตรายจากสิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติ (Safety

Infographicโรงเรียนกับการสร้างความปลอดภัยให้กับเด็ก#1

2021-11-09T22:07:48+07:001 พฤษภาคม 2018|มัลติมีเดีย, คู่มือ|

โรงเรียน เปรียบเสมือนบ้านหลังที่สองของเด็กๆ จะทำอย่างไรให้บ้านหลังนี้ ปลอดภัยและน่าอยู่สำหรับเด็กๆ โครงการโรงเรียนคุ้มครองเด็ก ของมูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก

ผู้พิทักษ์เด็ก คุณก็เป็นได้ หนังสือถอดบทเรียนโครงการพัฒนาศักยภาพฯ

2021-11-09T22:13:58+07:0010 กุมภาพันธ์ 2018|คู่มือ|

ผู้พิทักษ์เด็ก คุณก็เป็นได้ หนังสือถอดบทเรียนโครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และผู้ปฏิบัติงานในการคุ้มครองเด็กระดับตำบล ประเทศไทยได้พัฒนาระบบการคุ้มครองเด็กมาอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งใน พ.ศ.2557 องค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย ได้หารือกับมูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็กเรื่องความร่วมมือในการพัฒนาระบบการคุ้มครองเด็กในระดับตำบล

นิยายภาพ เรื่อง “เด็กหญิงวาสนา”

2021-11-09T22:01:02+07:0020 กุมภาพันธ์ 2014|คู่มือ|

เป็นการจำลองภาพคดีที่เกิดขึ้นจริงในโรงเรียนแห่งหนึ่ง แต่ได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อและเหตุการณ์เล็กน้อย เพื่อมิให้กระทบต่อเด็กและครอบครัว แต่คุณครูสมรัก เป็นบุคคลที่มีตัวตนอยู่จริง และเป็นบุคคลที่พึงได้รับการยกย่องนับถือสักการะในฐานะของบูรพาคณาจารย์อย่างแท้จริง

คู่มือครู การจัดระบบความปลอดภัยในโรงเรียน

2024-10-23T09:47:28+07:0022 พฤษภาคม 2012|คู่มือ|

ดาวน์โหลดเอกสารฟรี

นิยายภาพวาด “เอื้องผึ้ง”

2021-11-09T21:27:18+07:0013 มีนาคม 2012|คู่มือ|

เรื่องราวชีวิตจริงของเด็กหญิงตัวน้อยๆ ผู้มีความกตัญญูและรักบ้านเกิด แต่ต้องถูกนำมาเป็นเหยื่อ ของการอันทารุณในซ่องโสเภณี เช่นเดียวกันกับเด็กสาวอีกหลายแสนคน ที่ตกอยู่ในวังวนของธุรกิจอันน่าเวทนาในปัจจุบันนี้

คู่มือปฎิบัติงานของทีมสหวิชาชีพในกระบวนการคุ้มครองเด็ก

2021-11-09T21:16:41+07:008 มกราคม 2012|คู่มือ|

สืบเนื่องจากการที่มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็กได้มีโครงการพัฒนาเครือข่ายทีมสหวิชาชีพ เพื่อพัฒนาบุคลากรผู้ประกอบวิชาชีพในสาขาต่าง ๆ ได้แก่ สาขาการแพทย์ กฎหมาย จิตวิทยาและสังคมสงเคราะห์ ซึ่งได้มีการคัดสรรผู้เข้าอบรมจากทีมเครือข่ายสหวิชาชีพ ทั้งจากส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กในแต่ละขั้นตอน

คู่มือตัวฉันเป็นของฉัน (สำหรับเด็ก)

2018-03-10T19:47:03+07:008 มกราคม 2012|คู่มือ|

“ร่างกายของฉันเป็นของฉันใช่ของใคร เธอจงเข้าใจหากว่าฉันพูดว่า ไม่”  นี่เป็นส่วนหนึ่งของเพลงร่างกายของฉัน ที่พูดได้ว่าเป็นประโยคสำคัญที่ทำให้เด็กได้เข้าใจว่า ร่างกายของเด็กเป็นสิ่งที่เด็กจำเป็นต้องดูแลด้วยตนเอง เป็นพื้นที่ส่วนตัว เป็นสิทธิส่วนบุคคลที่ใครเองไม่สามารถที่จะมาล่วงล้ำหรือจับต้องได้ ในโลกยุคปัจจุบันที่ปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศมีความรุนแรงและเพิ่มจำนวนมากขึ้น ซึ่งปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศสามารถเกิดขึ้นได้ทุกทีไม่ว่าจะเป็นโรงเรียน ในห้างสรรพสินค้า หรือบ้านของเด็กเอง 
99
Go to Top